รถกระบะ 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ 0946490894รับจ้างย้ายบ้าน สำนักงาน ขนส่งสินค้าในจังหวัดสตูล
รถกระบะ 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ0946490894อยู่จังหวัดสตูล
ให้บริการด้าน,รถรับจ้างสตูล,รถหกล้อรับจ้างย้ายบ้าน,บริการงานขนส่ง ,รับจัดส่งสินค้า รถรับจ้าง ขน ส่ง ยก ย้าย สิ่งของต่างๆ บริการด้วยความซื่อตรง
เราให้บริการ,รถรับจ้างสตูล ตลอด 24 ชั่วโมง เพียงท่านคิดจะย้าย คิดถึงรถขนของคิดถึงเราทันที "สมาคมรถรับจ้างไทย" ,รถรับจ้างสตูลด้วยราคายุติธรรม ไม่แพงอย่างที่ท่านคิด เพียงท่านยกหู
หาเราเท่านั้น
(((ติดต่อ โทร 0946490894 )))
มีรถรับจ้างจังหวัดสตูล นัดล่วงหน้าราคาพิเศษ มีรถล่องทั่วไทย
...ยินดีต้อนรับบริการรถรับจ้าง ขนของ ย้ายบ้าน ขน ส่ง ยก ย้าย สิ่งของต่างๆ ราคาถูกมาก มีรถบรรทุกประจำจังหวัดสตูล ...
บริการ รถรถจ้างสตูล รถรับจ้าง บริการขนย้าย 6 ล้อ 10 ล้อ ขนของ ขนส่ง ขนย้าย สินค้าต่างๆ ทั่วประเทศ พนักงานยก รับงานขนย้าย ย้ายบ้าน ย้ายคอนโด ย้ายหอพัก สำนักงาน ออฟฟิศ
บริการรถรับจ้างขนย้าย สตูลไปทั่วไทย โทร 0946490894
ท่านใดสนใจหรือมีงานเร่ง งานด่วน สามารถติดต่อเราได้ทันที
บริการ รถรับจ้าง ตลอด 24 ชั่วโมง มีรถ 6 ล้อ บริการขนย้ายสินค้า
พร้อม พนักงานยกของ งานบูธสินค้า งานก่อสร้าง ย้ายบ้าน สำนักงาน
โดยทีมงานมืออาชีพมีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี
ท่านใดสนใจสามารถติดต่อ ทีมงาน สมาคมรถรับจ้างไทย บริการ รถรับจ้างสตูล
พร้อมทั้งเรายัง บริการ,รถรับจ้างขนของย้ายบ้าน สตูล ,รถ 10 ล้อรับจ้าง ขนย้ายเพื่องานแสดงโชว์ ออกบูธ ตามสถานที่ต่างๆ รับผิดชอบงานทุกงาน ตรงต่อเวลา ด้วยการให้บริการด้านรถรับจ้างนานนับสิบปี เรารู้ความต้องการของท่าน เราตอบโจทย์ท่านได้ บริการด้านรถรับจ้าง ทั่วไทย ต้องเราเท่านั้น
รถอยู่ที่
รถกระบะ 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ อำเภอควนโดน
รถกระบะ 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ อำเภอท่าแพ
รถกระบะ 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ อำเภอทุ่งหว้า
รถกระบะ 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ อำเภอเมืองสตูล
รถกระบะ 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ อำเภอมะนัง
รถกระบะ 4 ล้อ 6 ล้อ 10 ล้อ อำเภอละงู
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดอุตรดิตถ์
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดกาฬสินธุ์
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดขอนแก่น
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดชัยภูมิ
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสุรินทร์
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดหนองคาย
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดหนองบัวลำภู
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดอุดรธานี
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดอุบลราชธานี
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดกำแพงเพชร
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดชัยนาท
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสมุทรปราการ
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสมุทรสงคราม
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสมุทรสาคร
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสิงห์บุรี
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสุโขทัย
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสุพรรณบุรี
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสระบุรี
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดอ่างทอง
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดอุทัยธานี
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดจันทบุรี
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดฉะเชิงเทรา
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดชลบุรี
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสระแก้ว
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดกาญจนบุรี
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดกระบี่
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดชุมพร
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสุราษฎร์ธานี
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป จังหวัดสตูล
รถรับจ้าง,รถหกล้อรับจ้าง,รถสิบล้อรับจ้าง,รับจ้างย้ายบ้านสตูลไป กรุงเทพมหานคร
ประวัติความเป็นมาของจังหวัดสตูล
ในสมัยกรุงศรีอยุธยาไม่ปรากฏหลักฐานกล่าวไว้ ณ ที่ใด สันนิษฐานว่าในสมัยนั้น ไม่มีเมืองสตูล คงมีแต่หมู่บ้านเล็ก ๆ กระจัดกระจายอยู่ตามที่ราบชายฝั่งทะเล ในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ สตูลเป็นเพียงตำบลหนึ่งอยู่ในเขตเมืองไทรบุรี ฉะนั้นประวัติความเป็นมาของจังหวัดสตูล จึงเกี่ยวข้องกับเรื่องราวของเมืองไทรบุรี ดังปรากฏในหนังสือพระราชศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๒ ว่า "ตามเนื้อความที่ปรากฏดังกล่าวมาแล้ว ทำให้เห็นว่าในเวลานั้น พวกเมืองไทรเห็นจะแตกแยกกันเป็น ๒ พวก คือ พวกเจ้าพระยาไทรปะแงรันพวกหนึ่ง และพวกพระยาอภัยนุราชคงจะนบน้อมฝากตัวกับเมืองนครศรีธรรมราช โดยเฉพาะเมื่อพระยาอภัยนุราชได้มาเป็นผู้ว่าราชการเมืองสตูล ซึ่งเขตแดนติดต่อกับเมืองนครศรีธรรมราช พวกเมืองสตูลคงจะมาฟังบังคับบัญชาสนิทสนมข้างเมืองนครศรีธรรมราชมากกว่าเมืองไทร แต่พระยาอภัยนุราชว่าราชการเมืองสตูลได้เพียง ๒ ปี ก็ถึงแก่อนิจกรรม ผู้ใดจะได้ว่าราชการเมืองสตูล ต่อมาในชั้นนั้นหาพบจดหมายเหตุไม่ แต่พิเคราะห์ความตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายหลัง เข้าใจว่าเชื้อพระวงศ์ของพระอภัยนุราช (ปัศนู) คงได้ได้ว่าราชการเมืองสตูลและฟังบังคับบัญชาสนิทสนมกับเมืองนครศรีธรรมราชอย่างครั้งพระอภัยนุราชหรือยิ่งกว่านั้น" เรื่องเกี่ยวกับเมืองสตูลยังปรากฏในหนังสือพงศาวดารเมืองสงขลา แต่ข้อความที่ปรากฏบางตอนเกี่ยวกับชื่อผู้ว่าราชเมืองสตูล ไม่ตรงกับพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓ ประวัติเกี่ยวกับเมืองสตผุลในการจัดรูปแบบการปกครองเมือง ตามระบอบมณฑลเทศาภิบาลว่า ในปี พ.ศ. ๒๔๔๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้รักษาเมืองไทรบุรี เมืองเปอร์ลิสและเมืองสตูลเป็นมณฑลเทศาภิบาล เรียกว่า "มณฑลไทรบุรี" โปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้ายาไทรบุรีรามภักดี เจ้าพระยาไทรบุรี (อับดุลฮามิต) เป็นข้าราชการเทศาภิบาลมณฑลไทรบุรี เมืองสตูลได้แยกจากเมืองไทรบุรีอย่างเด็ดขาด ตามหนังสือสัญญาไทยกับอังกฤษเรื่องปักปันเขตแดนระหว่างไทยกับสหพันธรัฐมาลายู ซึ่งลงนามกันที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม ร.ศ.๑๒๗ (พ.ศ.๒๔๕๒) จากหนังสือสัญญานี้ยังส่งผลให้ไทรบุรีและปลิสตกเป็นของอังกฤษ ส่วนสตูลคงเป็นของไทยสืบมาจนถึงปัจจุบัน เมื่อปักปันเขตแดนเสร็จแล้วได้มีพระราชโองการโปรดให้เมืองสตูลเป็นเมืองจัตวารวมอยู่ในมณฑลภูเก็ต เมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม ร.ศ.๑๒๘ (พ.ศ. ๒๕๕๓) ในปีพุทธศักราช ๒๔๗๕ ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตย เมืองสตูลก็มีฐานะยกเป็นจังหวัดหนึ่งอยู่ในราชอาณาจักรไทยสืบต่อมา จนกระทั่งทุกวันนี้ คำว่า "สตูล" มาจากคำภาษามาลายูว่า "สโตย" แปลกว่า กระท้อน อันเป็นผลไม้ชนิดหนึ่งที่ขึ้นอยู่ชุกชมในท้องที่เมืองนี้ ต่อมาได้รับการตั้งสมญานาม เป็นภาษามลายูว่า "นครสโตยมำบังสการา (Negeri Setoi Mumbang Segara)" หรือแปลเป็นภาษาไทยว่า สตูลเมืองแห่งพระสมุทรเทวา ดังนั้น "ตราพระสมุทรเทวา" จึงกลายเป็นตราสัญลักษณ์ของจังหวัดมาตราบเท่าทุกวันนี้ จังหวัดสตูล แม้จะอยู่ร่วมกับไทรบุรีระยะแรกเริ่มก็ตาม แต่จังหวัดสตูลก็เป็นจังหวัดที่มีดินแดนร่วมอยู่ในประเทศไทยตลอดมา ระยะแรกๆ จังหวัดสตูลแบ่งเขตการปกครองออกเป็นสองอำเภอ กับหนึ่งกิ่งอำเภอ คือ อำเภอมำบัง อำเภอทุ่งหว้า และอำเภอละงู ซึ่งอยู่ในการปกครองของอำเภอทุ่งหว้า ต่อมาปีพ.ศ. ๒๔๘๒ ได้เปลี่ยนชื่ออำเภอมำบังเป็นอำเภอเมืองสตูล สำหรับอำเภอทุ่งหว้า ซึ่งในสมัยก่อนนั้นเจริญรุ่งเรืองมาก มีเรือกลไฟจากต่างประเทศติดต่อมาค้าขายและรับส่งสินค้าเป็นประจำ สินค้าสำคัญของอำเภอทุ่งหว้า คือ "พริกไทย" เป็นที่รู้จักเรียกตามกันในหมู่ชาวประเทศว่า "อำเภอสุไหวอุเป" ต่อมาเมื่อประมาณปีพ.ศ. ๒๔๕๗ การปลูกพริกไทยของอำเภอทุ่งหว้าได้ลดลง ชาวต่างประเทศที่ได้เข้ามาทำการค้าขายต่างพากันอพยพกลับไปยังต่างประเทศ ราษฎรในท้องที่ก็พาอพยพไปหาทำเลทำมาหากินในท้องที่อื่นกันมาก โดยเฉพาะได้ย้ายไปตั้งแหล่งที่กิ่งอำเภอละงูมากขึ้น ทำให้ท้องที่กิ่งอำเภอละงูเจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว และในทางกลับกันทำให้อำเภอทุ่งหว้าซบเซาลง ครั้นถึงพ.ศ. ๒๔๗๓ ทางการพิจารณาเห็นว่ากิ่งอำเภอละงูเจริญขึ้น มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นกว่าอำเภอทุ่งหว้า จึงได้ประกาศยกฐานกิ่งอำเภอละงูเป็นอำเภอ เรียกว่า อำเภอละงู และยุบอำเภอทุ่งหว้าเดิมเป็นกิ่งอำเภอทุ่งหว้า เรียกว่า กิ่งอำเภอทุ่งหว้า ขึ้นอยู่ในการปกครองของอำเภอละงู ต่อมาในปีพ.ศ. ๒๕๑๖ กิ่งอำเภอทุ่งหว้าจึงได้รับสถานะเดิมกลับคืนมาเป็นอำเภอทุ่งหว้า
ประชากร จังหวัดสตูลเป็นหนึ่งในสี่ จังหวัดของประเทศไทยที่มีประชากรส่วนใหญ่ นับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งมีมากถึง ๖๗.๘๐% ส่วนรองลงมาคือชาวพุทธซึ่งมีอยู่ ๓๑.๙% และที่เหลือคือศาสนาคริสต์ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในเขตอำเภอเมืองสตูล ถึงแม้ประชากรส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาอิสลาม แต่ประชากรส่วนใหญ่จะเป็นชาวไทยโดยมาก จะมีชาวไทยเชื้อสายมลายู รวมถึงมลายู เพียงแค่ ๙.๙% ของประชากรเท่านั้น ประชากร ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๙ รวมทั้งสิ้น ๒๘๐,๖๔๓ คน ๑๓๙,๘๖๔ คน หญิง ๑๔๐,๗๗๙ คน
ข้อมูลสถานที่ท่องเที่ยวสตูล
มัสยิดกลางจังหวัดสตูล ตั้งอยู่บริเวณมุม ถ.บุรีวานิชและ ถ.สตูลธานี กลางเมืองสตูล เป็นสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนา ลักษณะรูปทรงมัสยิดเป็นสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ ตัวอาคารสีขาวตกแต่งด้วยกระเบื้องเคลือบหินอ่อนและกระจกใส ตัวอาคารแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนนอกเป็นระเบียง มีบันไดขึ้นหอคอย ลักษณะเป็นยอดโดมสามารถมองเห็นทิวทัศน์เมืองสตูลได้ ส่วนในเป็นห้องโถงใหญ่ใช้เป็นที่ละหมาด ชั้นล่างมีห้องใต้ดิน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สตูล (คฤหาสน์กูเด็น)
ตั้งอยู่ ถ.สตูลธานี ซอย 5 ตรงข้ามกับสำนักงานที่ดินจังหวัดสตูล สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2441 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2459 โดยพระยาภูมินารถภักดี หรือตวนภูบาฮารุดดินบินตำมะหงง (ชื่อเดิม กูเด็น บินกูแม๊ะ) เจ้าเมืองสตูลในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คฤหาสถ์นี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ประทับของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวคราวเสด็จปักษ์ใต้ แต่ไม่ได้ประทับแรม เคยใช้เป็นบ้านพักและศาลาว่าการเมืองสตูล จนในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ราวปี พ.ศ. 2484 อาคารหลังนี้ใช้เป็นกองบัญชาการทหารญี่ปุ่น เคยใช้เป็นศาลากลางจังหวัดสตูล และเป็นสถานที่สำคัญทางราชการ ต่อมาปี พ.ศ. 2540-2543 กรมศิลปากรได้ปรับปรุงคฤหาสน์กูเด็น เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน 2 ชั้น เป็นตึกแบบตะวันตก ประตูหน้าต่างรูปโค้งตามแบบสถาปัตยกรรมยุโรป หลังคาทรงปั้นหยาแบบไทย ใช้กระเบื้องดินเผารูปกาบกล้วย บานหน้าต่างเป็นแผ่นไม้ชิ้นเล็ก ๆ เป็นเกล็ดแนวนอนช่องลมด้านบนตกแต่งรูปดาวตามลักษณะสถาปัตยกรรมแบบอิสลาม ภายในจัดแสดงประวัติศาสตร์เมืองสตูล วิธีชีวิตของชาวสตูลในด้านต่าง ๆ เช่น ชีวิตชาวเลเกาะหลีเป๊ะ การปั้นหม้อ ห้องบ้านเจ้าเมืองสตูล ห้องวัฒนธรรมชาวไทยมุสลิม ให้ความรู้เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมประเพณีและวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์เปิดทุกวันพุธ-วันอาทิตย์ ปิดวันจันทร์ วันอังคารและวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 09.00-16.00 น. ค่าเข้าชม ชาวต่างประเทศ 30 บาทชาวไทย 10 บาท โทร. 0 7472 3140
วัดชนาธิปเฉลิม
วัดชนาธิปเฉลิม ตั้งอยู่ที่ ถ.ศุลกานุกูล ต.พิมาณ เดิมชื่อ วัดมำบัง เป็นวัดแห่งแรกของเมืองสตูล สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2425 ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นวัดชนาธิปเฉลิม เมื่อปี พ.ศ. 2482 ชาวเมืองสตูลส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม เป็นที่รวมน้ำใจของชาวพุทธศาสนาร่วม 100 กว่าปี พระอุโบสถของวัดสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2473 มีลักษณะเด่นแตกต่างจากพระอุโบสถทั่วไป คือ เป็นอาคารทรง 2 ชั้น ชั้นล่างก่อด้วยอิฐถือปูน ใช้เป็นศาลาการเปรียญ ชั้นบนเป็นอาคารไม้ใช้ประกอบพิธีกรรมของพระสงฆ์ ด้านหน้าพรอุโบสถเป็นระเบียงมีบันได 2 ข้าง สาบานหน้าต่างแกะสลักเป็นรูปเครือเถา วัดแห่งนี้จึงเป็นวัดที่หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมท้องถิ่น จังหวัดสตูลร่วมกับศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดสตูล โรงเรียนสตูลวิทยา ประกาศเป็นเขตอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สอบถามรายละเอียดที่โทรศัพท์ 0 7471 1996
ท่องเที่ยวธรรมชาติ จังหวัดสตูล
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะเภตรา
เกาะเภตรามีลักษณะคล้ายเรือสำเภา เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่บริเวณช่องแคบมะละกาทะเลอันดามัน ในคาบมหาสมุทรอินเดียทางฝั่งตะวันตกของไทย ครอบคลุมพื้นที่ชายหาดตลอดแนวฝั่งทะเลในสตูลและจังหวัดตรัง ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่ที่สำคัญคือ เกาะเภตรา เกาะเขาใหญ่ เกาะละโละแบนแต เกาะลิดี เกาะบุโหลน เกาะเหลาเหลียง และเกาะเปรามะ แต่ละเกาะมีเสน่ห์แตกต่างกัน ซึ่งหากชอบความเงียบสงบต้องไปที่เกาะบุโหลน
อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
อุทยานแห่งชาติทางทะเลแห่งแรกของประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านประวัติศาสตร์ และความสวยงาม ประกอบไปด้วย หมู่เกาะใหญ่น้อย จำนวนถึง 51 แบ่งออกเป็น หมู่เกาะใหญ่ 2 หมู่เกาะ คือ หมู่เกาะ ตะรุเตาและหมู่เกาะอาดัง-ราวี ซึ่งมีความสวยงามทั้งชายหาดและแนวปะการัง ที่พลาดไม่ได้ควรไปเที่ยวชมความงดงามของแนวชายหาด และวิถีความเป็นอยู่ของชาวเลบนเกาะหลีเป๊ะ ดำน้ำชมปะการังน้ำตื้นที่หมู่เกาะดง เกาะยาว ร่องน้ำจาบัง แดนปะการังอ่อนเจ็ดสี
อุทยานแห่งชาติทะเลบัน
ตั้งอยู่ที่บ้านวังประจัน ต.วังประจัน อยู่ห่างจาก อ.เมืองสตูล 40 กม. อุทยานฯ มีเนื้อที่ 122,500 ไร่ โดยรวมพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติกุปังปุโต๊ะและหัวกะหมิงและพื้นที่ป่าควนบ่อ น้ำปูยู ในท้องที่ ต.บ้านควน ต.ปูยู อ.เมืองสตูล ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2523
คำว่า “ทะเลบัน” มาจากคำว่า “เลิด เรอบัน” เป็นภาษามลายู แปลว่า ทะเลยุบ หรือทะเลอันเกิดจากการยุบตัวของแผ่นดิน อุทยานแห่งชาติทะเลยัน เกิดจากการยุดตัวของพื้นดินระหว่างเขาจีนและเขามดแดง เป็นหนองน้ำขนาดใหญ่ มีเนื้อที่ประมาณ 63,350 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสลับซับซ้อน อุดมไปด้วยพืชพรรณป่าไม้ที่ขึ้นอยู่หนาแน่น นอกจากนี้ยังมีสัตว์ต่าง ๆ เช่น เลียงผา ช้าง สมเสร็จ หมูป่า ลิง ชะนี และ “เขียดว๊าก” (หมาน้ำ) ซึ่งเปรียบเสมือนสัญลักษณ์แห่งบึงทะเลบัน รูปร่างคล้ายกบและคางคก แต่มีหาง ส่งเสียงร้องคล้ายลูกสุนัข จะมีชุกชุมตามริมบึงโดยเฉพาะในฤดูฝน สำหรับผู้ชื่นชมการดูนกก็ไม่ควรพลาด เพราะมีนกหลายชนิดให้ดู เช่น นกแอ่นฟ้าเคราขาว นกปรอดคอลาย นกกางเขนน้ำหลังแดง นกหัวขวาน เป็นต้น
เกาะตะรุเตา
นับเป็นเกาะใหญ่ที่สุดของอุทยานฯ มีพื้นที่ 152 ตร.กม. สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาที่มีสภาพเป็นป่าดิบชื้น ซึ่งยังมีพรรณไม้และสัตว์ป่าที่น่าสนใจจำนวนไม่น้อย และมีพื้นที่ส่วนหนึ่งเป็นป่าชายเลน นอกจากนี้ ยังมีอ่าวน้อยใหญ่ที่มีชายหาดสวยงามอยู่หลายแห่ง และในท้องทะเลของเกาะตะรุเตายังมีพันธุ์ปลามากมายหลายชนิด รวมทั้งเต่าทะเลที่ใกล้สูญพันธุ์ 4 ชนิด คำว่า “ตะรุเตา” เพี้ยนมาจากคำว่า “ตะโละเตรา” ในภาษามลายู แปลว่า มีอ่าวมาก
นอกจากสภาพธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์แล้ว เกาะตะรุเตายังมีประวัติศาสตร์ที่น่าจดจำ โดยในปี พ.ศ. 2479 รัฐบาลมีนโยบายให้กรมราชทัณฑ์จัดหาสถานที่เพื่อจัดตั้งนิคมฝึกอาชีพ และเป็นสถานที่กักกันนักโทษ เกาะตะรุเตาซึ่งอยู่ห่างไกลากฝั่ง เต็มไปด้วยปัจจัยทางธรรมชาติที่เป็นอุปสรรคต่อการหลบหนี ก็ได้ถูกกำหนดให้เป็นสถานที่จัดตั้งนิคมดังกล่าว มีการจัดสร้างอาคารที่ทำการ บ้านพักของผู้คุม เรือนนอนนักโทษ และโรงฝึกอาชีพขึ้นที่อ่าวตะโละวาวและอ่าวตะโละอุดัง ในปี พ.ศ. 2481 นักโทษชุดแรกจำนวน 500 คนก็ได้เดินทางมายังตะรุเตา และทยอยเข้ามาอีกเรื่อย ๆ จนมีนักโทษเพิ่มขึ้นสูงสุดถึง 3,000 คน และในช่วงปี พ.ศ. 2482 รัฐบาลได้ส่งนักโทษการเมือง 70 คน ซึ่งเป็นกลุ่มนักโทษจากเหตุการณ์กบฏบวรเดชและกบฏนายสิบ มากักบริเวณอยู่ที่อ่าวตะโละอุดัง
ในปี พ.ศ. 2484 สงครามโลกครั้งที่ 2 ที่อุบัติขึ้นได้ส่งผลกระทบต่อนิคมฝึกอาชีพตะรุเตา เนื่องจากเกิดภาวะขาดแคลนอาหารและยารักษาโรค นักโทษเจ็บป่วยล้มตายลงเป็นจำนวนมาก ผู้คุมและนักโทษจำนวนหนึ่งจึงได้ออกปล้นสะดมเรือสินค้า ที่ผ่านไปมาในน่านน้ำบริเวณช่องแคบมะละกา จนทำให้เรือสินค้าไม่กล้าล่องเรือผ่านมาในบริเวณนั้น ในปี พ.ศ. 2489 รัฐบาลอังกฤษซึ่งปกครองมลายูอยู่ในขณะนั้น ได้ขออนุญาตจากรัฐบาลไทยในการส่งกองกำลังเข้าปราบปรามโจรสลัดตะรุเตาจน สำเร็จ ต่อมากรมราชทัณฑ์ได้ประกาศยกเลิกนิคมฝึกอาชีพตะรุเตา และหลังจากนั้นเกาะตะรุเตาก็ถูกทิ้งร้างเป็นเวลา 26 ปี จนกระทั้งวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2517 กรมป่าไม้ได้ประกาศจัดตั้งอุทยานแห่งชาติตะรุเตาขึ้น โดยนับเป็นอุทยานแห่งชาติทางทะเลแห่งแรกของประเทศไทย
เกาะไข่
เกาะไข่ อยู่ห่างจากเกาะตะรุเตาไป ประมาณ ๒๕ กิโลเมตร ทุกปีจะมีเต่าทะเลขึ้นมาวางไข่เป็นจำนวนมาก ทางด้านตะวันตกของเกาะมีหาดทรายสีขาวนวล และละเอียด น้ำทะเลใสเห็นผืนทรายใต้น้ำได้ชัดเจน
เกาะหินงาม
เกาะหินงาม เกาะขนาดเล็กทางทิศใต้ของเกาะอาดัง ทั้งเกาะเต็มไปด้วยหินสีดำ กลมเกลี้ยง มันวาว เล่ากันว่าหินทุกก้อนมีคำสาปของเจ้าพ่อตะรุเตา หากใครนำติดตัวไปจะเกิดแต่หายนะ แต่หากไปชมแล้วเรียงก้อนหินได้ 12 ชั้น แล้วอธิษฐานขอพรก็จะได้สมปรารถนาทุกสิ่งทุกอย่าง
เกาะหลีเป๊ะ
เกาะหลีเป๊ะ อยู่ทางตอนใต้ของเกาะอาดัง มีชุมชนชาวเลอาศัยอยู่ ส่วนใหญ่ทำอาชีพประมง รอบเกาะเต็มไปด้วยป่าปะการังอันสมบูรณ์ มีเวิ้งอ่าวสวยงาม หาดทรายขาวละเอียด อ่าวที่สวยงามที่สุดคือ อ่าวพัทยา บนเกาะมีที่พักเพื่อบริการนักท่องเที่ยวทั้งด้านหน้าและด้านหลังเกาะ ในเดือน 6 และเดือน 11 ขึ้น 13-15 ค่ำตลอด 3 วัน 3 คืน ชาวบ้านที่มีเชื้อสายชาวเลจะมารวมกันที่เกาะแห่งนี้เพื่อจัดงานประเพณีลอย เรือ ตามความเชื่อที่จะขับไล่สิ่งอัปมงคล และเสี่ยงทายอนาคตของการประกอบอาชีพ
เกาะหินซ้อน
เกาะหินซ้อน มีลักษณะแปลกคือ หินขนาดใหญ่ 2 ก้อนวางซ้อนตัวกันอยู่กลางทะเล
เกาะอาดัง
เกาะอาดัง ที่ตั้งของหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติตะรุเตา บนเกาะมีหาดทรายละเอียดเหมาะสำหรับการดำน้ำตื้น รอบเกาะเป็นภูเขาสูง ป้าไม้ปกคลุมหนาแน่น มีน้ำตกโจรสลัด ซึ่งมีน้ำไหลตลอดปี อีกแห่งที่ย่าสนใจคือยอดผาชะโด จุดชมวิวซึ่งในอดีตเป็นจุดสังเกตการณ์ของโจรสลัด สามารถมองเห็นทิวสนและแหลมทรายสีขาวของเกาะอาดัง เกาะหลีเป๊ะ และยังชมพระอาทิตย์ขึ้นได้อีกด้วย
เกาะราวี
เกาะราวี ห่างจากเกาะอาดังเพียง 1 กม. เป็นเกาะที่มีหาดทรายสวยงาม น้ำทะเลใสเงียบสงบ เป็นที่ตั้งหน่วยพิทักษ์ฯ ที่ ต.ต.6 (หาดทรายขาว) บนเกาะไม่มีที่พัก นักท่องเที่ยวนิยมมาดำน้ำดูแนวปะการังน้ำตื้นซึ่งยาวกว่า 200 ม. อีกทั้งยังมีความสมบูรณ์สูง นับเป็นสวรรค์บนผืนน้ำอันแท้จริง
อ่าวตะโละวาว
อ่าวตะโละวาว อยู่ทางทิศตะวันออกของเกาะ เป็นที่ตั้งของหน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ที่ตต.1 (ตะโละวาว) จำลองอาคารที่เคยเป็นบ้านพักของผู้คุมเรือนนอนนักโทษ โรงฝึกอาชีพ ทางทิศใต้ของเกาะคือ อ่าวตะโละอุดัง ที่ตั้งของหน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ที่ตต.2 (ตะโละอุดัง) เคยเป็นที่กักขังนักโทษจากเหตุการณ์กบฏบวรเดช และ กบฏนายสิบ
อ่าวพันเตมะละกา
อ่าวพันเตมะละกา ที่ตั้งที่ทำการอุทยานแห่งชาติตะรุเตา และศูนย์บริการนักท่องเที่ยว จัดแสดงนิทรรศการประวัติศาสตร์ตะรุเตา และจากจุดนี้สามารถเดินไปยังผาโต๊ะบู หน้าผาสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 60 ม. เพื่อชมความงดงามของคลองพันเตมะละกา เกาะไข่ และอุทยานแห่งชาติเภตรา ออกจากที่ทำการอุทยานฯ ไปอีก 8 กม. จะถึงอ่าวสน มีหาดทรายที่โค้งสลับกับหาดหินและเป็นที่วางไข่ของเต่าทะเล
หมู่เกาะสาหร่าย
ห่างจากท่าเรือเจ๊ะบิลัง อ.เมือง ประมาณ 12 กม. นั่งเรือ 2 ช.ม. หมู่เกาะสาหร่าย นี้มี 2 เกาะใกล้กัน ชาวเมืองเรียกเกาะยะระโตด และยะระโตดนุ้ย มีชายหาดโดยรอบเกาะ ใกล้เกาะยะระโตด มีเกาะหาดหอยงาม ซึ่งคลื่นซัดเปลือกหอยไปกองไว้เป็นเกาะ คล้ายสุสานหอย
เกาะเขาใหญ่
เกาะเขาใหญ่ อยู่ห่างจากท่าเรือปากบาราประมาณ 3 กิโลเมตร บนเกาะมีอ่าวชื่อนะปุลา จุดเด่นของเกาะเขาใหญ่ คือ ปฏิมากรรมธรรมชาติที่คล้ายกับปราสาทหิน มีสะพานธรรมชาติยื่นโค้งไปในทะเล ยามน้ำลดสามารถพายเรือลอดได้นอกจากนี้ยังมีสถานที่เพาะเลี้ยงพันธุ์ปลาของประมงจังหวัดสตูล ตั้งอยู่ใกล้เกาะเขาใหญ่ซึ่งนักท่องเที่ยวนิยมแวะไปชมมากเช่นกัน
เกาะลิดี
อยู่ห่างจากที่ทำการฯ (อ่าวนุ่น) ประมาณ 5 กิโลเมตร และห่างจากท่าเรือปากบาราประมาณ 7 กิโลเมตร มีหน้าผาและถ้ำเป็นที่อาศัยของนกนางแอ่นเป็นจำนวนมาก เนื้อที่ประมาณ 10 ตารางกิโลเมตร มีหาดทรายขาวบริสุทธิ์ และมีเวิ้งอ่าวยื่นเข้าไปในตัวเกาะเป็นสระน้ำใสสะอาด เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่ชอบเล่นน้ำทะเล ปัจจุบันเกาะลิดีมีหน่วยพิทักษ์อุทยานฯ มีบ้านพัก และบริเวณที่กางเต็นท์สำหรับนักท่องเที่ยว สามารถติดต่อเรือประมงได้จากที่ทำการอุทยานฯ เสน่ห์ของเกาะลิดี อยู่ที่การเป็นเกาะคู่แฝดที่มีขนาดไล่เลี่ยกัน และมีเกาะน้อยๆประมาณ 3-4 เกาะ เรียงรายอยู่ใกล้ๆ มีถ้ำซึ่งเป็นแหล่งอาศัยของนกนางแอ่น รอบด้านคือหาดทรายขาวบริสุทธิ์ และมีเวิ้งอ่าวยื่นไปในน้ำ
ถ้ำเจ็ดคต
ถ้ำเจ็ดคต ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ตำบลปาล์มพัฒนา กิ่งอ.มะนัง ห่างจากหน่วยพิทักษ์ป่าวังสายทอง 3 กม. ลักษณะถ้ำคดเคี้ยวและทะลุผ่านภูเขา มีลำธารไหลผ่านภายในถ้ำ สามารถล่องเรือภายในถ้ำได้ตลอดระยะทางเพื่อชมธรรมชาติและหินย้อย มีหาดทรายขาวระยิบระยับภายในถ้ำบริเวณมุมที่คดเคี้ยว คล้ายกับเพชรที่โปรยไว้ที่หาดทราย บริเวณหาดทรายสามารถกางเต็นท์ได้ มีลมพัดเบาๆ และอากาศเย็นสบาย ไม่อับชื้น
น้ำตกยาโรย
เป็นน้ำตกที่เกิดจากต้นน้ำในป่าหัวกระหมิง มี 9 ชั้น แต่ละชั้นเป็นแอ่งสามารถเล่นน้ำได้ เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวในท้องถิ่น การเดินทาง ไปตามทางหลวงหมายเลข 4148 (สายควนสตอ-วังประจัน) กม. ที่ 14-15 ประมาณ 6 กม. จะมีทางแยกเข้าไปอีก 700 เมตร
น้ำตกโตนปลิว
น้ำตกโตนปลิว มีต้นน้ำมาจากภูเขาจีน เป็นน้ำตกขนาดใหญ่มีหลายชั้น ไหลจากหน้าผาสูง สวยงามมากการเดินทาง ใช้เส้นทางหมายเลข 4184 (สายควนสตอ-วังประจัน) กม. ที่ 9-10 หรือห่างจากที่ทำการอุทยานแห่งชาติทะเลบัน ประมาณ 10 กม. มีทางลูกรังแยกไปอีก 3 กม.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น